รถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน ปรับค่าโดยสารขึ้น 1 บาท บาคาร่าออนไลน์ เก็บ 17-42 บาท ต้อนรับปีใหม่ เริ่ม 1 ม.ค.64 ส่วน MRT สายสีม่วง ยังคงเดิม หลังร่วมแบ่งเบาภาระของประชาชนช่วงโควิดระบาด ตั้งแต่ 3 ก.ค.-31 ธ.ค.63
นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)
เปิดเผยว่า สารรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน นั้นตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2564 จะมีการจัดเก็บอัตราใหม่ เริ่มต้นที่ 17 บาท สูงสุด 42 บาท โดยสถานีที่ 1, 4, 7 และสถานีที่ 10 จะมีอัตราค่าโดยสารเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน 1 บาท
ทั้งนี้การปรับขึ้นราคา MRT เป็นไปตามสัญญาสัมปทานโครงการรถไฟฟ้าสีน้ำเงิน กำหนดให้มีการปรับขึ้นอัตราค่าโดยสารใหม่ทุกๆ ระยะเวลา 24 เดือน โดยพิจารณาตามดัชนีผู้บริโภค (CPI) ซึ่ง บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BEM) ผู้รับสัมปทานเดินรถได้ร่วมแบ่งเบาภาระประชาชนในช่วงสถานการณ์วิกฤติจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยคงอัตราค่าโดยสารเดิมไว้ตั้งแต่วันที่ 3 ก.ค.2563 จนถึงวันที่ 31 ธ.ค.2563
แต่ข่าวดีคือ ตั๋วสารรถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม (MRT สายสีม่วง) เริ่มต้นที่ 14 บาท และจ่ายสูงสุด 20 บาทตลอดสาย จากอัตราปกติสูงสุด 42 บาท เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระให้ประชาชนจากผลกระทบจากโรคโควิด-19 ต่อไป ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ส่วน วันเด็ก วันผู้สูงอายุ วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ และวันปลอดรถ หรือคาร์ฟรีเดย์ ในปี 2564 ที่ประชุมบอร์ด รฟม. มีมติเห็นชอบยกเว้นค่าโดยสารรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน และสายสีม่วง
ชัดเจนแล้ว ช้อปดีมีคืน ซื้อมือถือได้ไหม คำตอบคือซื้อได้ เพราะต้องเสีย VAT ข้อดีของการซื้อโทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟนเพื่อนำไปใช้ยื่นตอนเสียภาษี เพื่อได้เงินภาษีคืนในโครงการ ช้อปดีมีคืนคือ เงื่อนไขระบุว่า หากซื้อของครบ 30,000 บาท จะได้เงินคืนสูงสุดตามอัตราเงินเดือนที่เราต้องเสียภาษี ซึ่งมือถือเป็นอุปกรณ์จำเป็นสมัยนี้ และมีราคาแพง หากซื้อมือถือ 30,000 แล้วเงินเดือนคุณต้องจ่ายอัตราภาษีในเรตสูงสุด คุณอาจประหยัดเงินได้เป็นหมื่นเลยทีเดียว คุ้มมาก
การเลือกนำร่องในพื้นที่ดังกล่าวนี้ เนื่องจากความพร้อมในการดำเนินงาน ทั้งในส่วนของอุปกรณ์การแพทย์ เครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์ และตัวโรงพยาบาลที่มีความพร้อมหลายแห่งในพื้นที่ จึงถือว่ามีความเหมาะสมในการทดสอบระบบนี้
รู้จัก ม.112 กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ รายละเอียด ที่มา คืบหน้า ล่าสุด
ม.112 คือ กฎหมายมาตราหนึ่งที่ระบุอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ความว่า “ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี”
กฎหมายโทษผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ถูกตราครั้งแรกในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2453) และมีการเพิ่มให้การ “ดูหมิ่น” เป็นความผิด และเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐในประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 และมีการเพิ่มโทษครั้งล่าสุดในปี 2519
ในประเด็นที่ถูกพูดถึงอย่างมากของมาตรา 112 คือการตีความ อย่างไหนถึงเข้าข่ายดูหมิ่น หมิ่นประมาท
หลังรัฐประหารปี 2557 มีการเปลี่ยนคดีให้ศาลทหารพิจารณา และในปี 2558 มีการลงโทษจำคุกจำเลยคนหนึ่ง 60 ปี แต่ลดโทษเหลือกึ่งหนึ่งเพราะยอมรับสารภาพ นับเป็นโทษสูงสุดที่เคยมีมา บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขกฎหมายนี้
แต่นับจากหลังจากปี 2561 เป็นต้นมา ยังไม่มีการบังคับใช้มาตรา 112 อีก แต่ผู้กระทำการใด ๆ มักจะถูกกฎหมายอื่นแทน เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หรือ ม.116
มาตรา 112 ถูกหยิบยกมาพูดถึงอีกครั้งในการเมืองช่วงล่าสุด ของการชุมนุมประท้วงของประชาชน ที่หนึ่งในข้อเรียกร้องคือให้มีการปฏิรูปสถานบันพระมหากษัตริย์ แต่ฝ่ายผู้สนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์กลับมองว่าเป็นการล้มล้าง ทำให้หลายคนเรียกร้องให้มีการนำ มาตรา 112 กลับมาบังคับใช้อีกครั้ง เช่น ม.จ. จุลเจิม ยุคล
ด้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นากรัฐมนตรี ได้ออกแถลงการณ์นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 19 พ.ย. ที่ผ่านมา ว่าจะบังคับใช้กฎหมายทุกมาตรา ทุกฉบับกับผู้ชุมนุมประท้วงที่กระทำความผิด ซึ่งหลายฝ่ายคาดเดาว่าจะรวม ม.112 หรือไม่
ขณะที่ พล.ต.ต.ปิยะ ต๊ะวิชัย รอง ผบ ช.น. ฐานะโฆษก บช.น. กล่าวว่า ตำรวจทำตามหน้าที่ ไม่รู้สึกกลัวหากจะมีการนำ ม.112 มาใช้ เนื่องจากการทำผิดตามองค์ประกอบตามกฎหมายใด ก็จะเข้าข่ายกระทำผิดตามกฎหมายนั้น คงต้องดูการกระทำ กรรมซึ่งชี้เจตนา เจตนาของผู้กระทำเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของข้อกฎหมายถ้าไม่เข้าข้อกฎหมายการกระทำนั้นก็ไม่ผิด บาคาร่าออนไลน์